
คำอธิบายรายวิชา ระเบียบและวิธีวิจัยทางการศึกษา รูปแบบการวิจัย การฝึกวิจัยในชั้นเรียน การนำเสนอผลงานวิจัย การนำผลการวิจัยมาพัฒนาเด็กปฐมวัย จรรยาบรรณนักวิจัย
คำอธิบายรายวิชา ระเบียบและวิธีวิจัยทางการศึกษา รูปแบบการวิจัย การฝึกวิจัยในชั้นเรียน การนำเสนอผลงานวิจัย การนำผลการวิจัยมาพัฒนาเด็กปฐมวัย จรรยาบรรณนักวิจัย
จำนวนหน่วยกิต 3 (2-2-5) (จำนวนชั่วโมงสื่อวีดิทัศน์ 3 ชั่วโมง 30 นาที)
1. เพื่อให้มีความรู้ และความเข้าใจเกี่ยวกับระเบียบวิธีวิจัยทางการศึกษา และรูปแบบการวิจัย
2. เพื่อให้มีความรู้ และความเข้าใจเกี่ยวกับการวิจัยในชั้นเรียน
3. เพื่อให้สามารถค้นหาและวิเคราะห์สภาพปัญหาในชั้นเรียนเพื่อนำไปสู่หัวข้อการวิจัยได้
4. เพื่อให้สามารถศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการวิจัยแล้วกำหนดตัวแปรและสมมติฐานได้
5. เพื่อให้สามารถเขียนโครงการวิจัยในชั้นเรียนปฐมวัยได้
6. เพื่อให้สามารถพัฒนานวัตกรรมการเรียนรู้และทดลองใช้นวัตกรรมการเรียนรู้ได้
7. เพื่อให้สามารถพัฒนาเครื่องมือและการตรวจสอบคุณภาพของเครื่องมือได้
8. เพื่อให้สามารถออกแบบวิจัยในชั้นเรียนได้
9. เพื่อให้ดำเนินการวิจัยในชั้นเรียนได้
10. เพื่อให้สามารถวิเคราะห์ข้อมูลและเลือกใช้สถิติที่เหมาะสมในการวิเคราะห์ข้อมูลได้
11. เพื่อให้สามารถตีความและนำเสนอข้อมูลได้
12. เพื่อให้สามารถจัดทำรายงานการวิจัยและนำเสนอผลงานวิจัยได้
13. เพื่อให้เห็นความสำคัญของการขอรับรองจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์
14. เพื่อให้ปฏิบัติตามจรรยาบรรณนักวิจัยได้
ประชาชนทั่วไป ทุกเพศ ทุกวัย ที่สนใจสามารถเรียนได้
เข้าทำแบบทดสอบก่อนเรียน กิจกรรมในบทเรียน แบบทดสอบระหว่างเรียน และแบบทดสอบหลังเรียน
ผู้เรียนมีคะแนนรวมทั้งหมดไม่ต่ำกว่า 70% ถือว่าผ่านเกณฑ์เพื่อรับประกาศนียบัตรในระบบได้
ดร.อุไรวรรณ ชินพงษ์
กลุ่มงานโครงการพิเศษ สำนักอำนวยการ
ตำแหน่งครูผู้ช่วย
e-Mail: Uraiwan@ncc.ac.th เบอร์ 081-8970132
นายนิเซ็ง จินาแว
กลุ่มงานวิทยบริการ สำนักส่งเสริมงานวิจัยและอาชีพ
ตำแหน่ง เจ้าหน้าที่งานคอมพิวเตอร์
e-Mail: niseng@ncc.ac.th เบอร์ 082-942 6024
นายซำซูเด็ง มามุ
กลุ่มงานวิทยบริการ สำนักงานส่งเสริมการวิจัยและอาชีพ
ตำแหน่ง นักวิชาการคอมพิวเตอร์
e-Mail: samsudeng@ncc.ac.th เบอร์ 082-134 4289
e-Mail : narathiwat-iccs@ncc.ac.th เบอร์โทรศัพท์ 073 709 812
“สื่อการสอนนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ Thai MOOC (thaimooc.org)
และเผยแพร่ภายใต้สัญญาอนุญาตสิทธิ์แบบ Creative Commons ด้วยเงื่อนไข CC BY NC SA”